ทางการแพทย์

โรคลีเจียนแนร์ โรคที่มากับแอร์ (สกปรก) 

อากาศร้อนในเมืองไทย ทำให้ผู้คนส่วนใหญ่มักอาศัยความเย็นของ แอร์ เป็นตัวช่วยดับร้อน ไม่ว่าจะในบ้านเรือน สำนักงาน ห้างสรรพสินค้า โรงแรม หรือร้านค้าภายในอาคารต่าง ๆ แต่รู้ไหมว่าแอร์สกปรกก่อให้เกิดโรค สำหรับผู้ที่ต้องทำงานอยู่ห้องแอร์ทั้งวัน หรือเมื่ออยู่ในห้องแอร์นาน ๆ แล้วปวดหัว บางคนอยู่ในห้องแอร์แล้วตัวร้อน อาจเป็นเพราะอุณหภูมิภายนอกที่หนาวเย็นเกินลิมิตของร่างกายจะรับไหว หรืออาจเพราะเริ่มมีอาการไข้ จากการได้รับเชื้อโรคในแอร์สกปรก แอร์ที่ไม่ได้ทำความสะอาดเป็นเวลานาน ซึ่งความชื้นจากตัวแอร์และท่อน้ำทิ้งนี้เอง ที่เป็นแหล่งเจริญเติบโตของเชื้อโรคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็น

Plutophobia ช่วยด้วย ไม่อยากรวย ใครป่วยเป็นโรคนี้บ้าง 

เชื่อไหมว่า มีโรคแปลก ๆ เยอะมากที่ได้ยินชื่อแล้วไม่อยากจะเชื่อว่ามีอยู่จริงในโลกใบนี้  โรคแปลก ๆ หลายชนิดที่เกิดขึ้นมากจากความกลัว หรืออาการหวาดวิตกมากในจิตใจจนส่งผลต่อปฏิกิริยาทางร่างกาย ซึ่งความกลัวในโลกใบนี้มีสารพัด หลายคนที่กลัวมากจนทำให้มีอาการป่วยของโรคนั้น ๆ แตกต่างกันไป โดยโรคแปลก ๆ เช่น โรคกลัวโดนด่า โรคกลัวการถูกตำหนิ โรคกลัวแมลง โรคกลัวถูกลืม โรคกลัวความเร็ว โรคกลัวการถูกมอง โรคนอนคนเดียวไม่ได้ หรือ โรคกลัวความร่ำรวย!! เดี๋ยวนะ

สิทธิบัตรทอง 30 บาท ครอบคลุม และ ไม่ครอบคลุมอะไรบ้าง 

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ สปสช. ได้อัปเดตสิทธิประโยชน์เพิ่มเติมใหม่ของกองทุนบัตรทอง เพื่อให้ผู้ใช้สิทธิบัตรทอง 30 บาท ได้ใช้สิทธิเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป็นได้อย่างทั่วถึง ตามแผนบริหารจัดการที่วางไว้โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บอร์ด สปสช.) โดยบทความนี้เราจะมาดูกันว่า สิทธิของผู้ใช้บัตรทอง 30 บาท มีอะไรบ้าง ไม่สามารถใช้สิทธิบัตรทองในด้านใด และสิทธิประโยชน์ บัตรทอง 2566 ที่เพิ่มขึ้นใหม่มีอะไรบ้าง  ภาพจาก : https://www.prachachat.net/ สิทธิบัตรทองครอบคลุมอะไรบ้าง  

ปฏิบัติตัวอย่างไรหลังวันที่ 1 ต.ค. เมื่อโควิดถูกลดระดับให้เป็นเพียง “โรคติดต่อเฝ้าระวัง”

เมื่อราชกิจจานุเบกษาประกาศให้ โรคโควิด-19 ลดระดับจาก “โรคติดต่ออันตราย” สู่ “โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง” และมีผลบังคับใช้ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคในปัจจุบัน ส่งผลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องมีการปรับการทำงานให้เหมาะสมตามประกาศนี้ด้วยเช่นกัน  (more…)

หายจากโควิดแล้วแต่ยังมีอาการไอ สามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ไหม

จะมีการถอดโควิด-19 จากโรคติดต่ออันตราย แล้วย้ายไปอยู่ในหมวดโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 โดยมีผลวันที่ 1 ตุลาคม 2565 ที่จะถึงนี้แล้ว แต่ก็อาจยังมีอีกหลายคนที่สงสัยว่าคนที่เคยติดโควิด19 แม้จะหายป่วยแล้ว แต่ยังมีอาการไอเรื้อรัง แถมลากยาวไม่หายเสียที ทำให้ห่วงว่าเชื้อโควิดลงปอดไหม หรือเป็นเพียงแค่อาการลองโควิด (Long Covid) เท่านั้น และถ้ายังไออยู่จะสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ไหม โดยเฉพาะเมื่อต้องกลับไปทำงานในห้องแอร์ที่เป็นระบบปิด เรามาหาคำตอบพร้อมกันเลยดีกว่า  อย่างที่รู้กันดีว่าโรคระบาดโคโรนาไวรัสเป็นโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ และการไอนั้นเป็นสัญลักษณ์อันเด่นชัดของอาการติดเชื้อโควิด19 และการไอนั้นก็ยังเป็นวิธีการกำจัดเชื้อโรคออกจากร่างกาย

ฝีดาษลิง : รู้ทันโรค และ วิธีรับมือ

การระบาดโรคโควิด-19 ยังไม่ทันหายไปจากโลกนี้ แม้ว่าสถานการณ์จะดีขึ้น แต่ก็ยังมียอดติดเชื้อทั่วโลก แม้แต่ในประเทศไทยเองก็ยังมีผู้ติดเชื้ออยู่ทุกวัน โดยเฉพาะยังคงระบาดหนักในเกาหลีเหนือและใต้หวัน ที่ยังคงไม่สู้ดีนัก ความวัวไม่ทันหาย ความควายเข้ามาแทรก เสียแล้ว เมื่อม่โรคระบาดใหม่ปรากฏขึ้นมา จนสร้างความวิตกกังวล และเป็นที่จับตามองของนักวิทยาศาสตร์ และนักการแพทย์ รวมถึงองค์การอนามัยโลก WHO เนื่องจากมีการระบาดไปแล้วกว่า 15 ประเทศในยุโรป และทวีปอเมริกาเหนือ ในขณะนี้ นั่นก็คือ “โรคฝีดาษลิง” โรคฝีดาษลิง ภาษาอังกฤษ